Available courses

ศึกษา ฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในสาระต่อไปนี้

          สถิติ ข้อมูล ตำแหน่งที่ของข้อมูล ค่ากลางของข้อมูล (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต)

โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน Active Learning เน้นทักษะการคิดขั้นสูง 

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เสริมสร้างความถนัดและความสนใจอันจะนำไปสู่ การประกอบอาชีพในอนาคต และมีความสามารถในการตัดสินใจ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง         มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม


ศึกษา พร้อมทั้งฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในเนื้อหาของสาระ ดังนี้

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ฟังก์ชัน การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง กราฟของฟังก์ชัน การดำเนินการของฟังก์ชัน ฟังก์ชันผกผัน

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกำลัง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันลอการิทึม การหาค่าลอการิทึม การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม สมการและอสมการลอการิทึม การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

การใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และแหล่งข้อมูล และนำประสบการณ์ ตลอดจนทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ มีความรอบคอบ และมีวิจารณญาณ

การวัดผลประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด

ตรรกศาสตร์ ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของประพจน์ การสร้างตารางค่าความจริง รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน สัจนิรันดร์ การอ้างเหตุผล ประโยคเปิดตัวบ่งปริมาณ ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว สมมูลและนิเสธของประโยค ที่มีตัวบ่งปริมาณ

โดยใช้กระบวนการสอนที่พัฒนาศักยภาพและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน Active Learning เน้นทักษะขั้นสูง

          เพื่อให้องค์ความรู้ ความเข้าใจ เสริมสร้างความถนัดและความสนใจอันนำไปสู่ การประกอบอาชีพในอนาคต และมีความสามารถในการตัดสินใจ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวติของตนเอง มี จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาสม

การวัดผลประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด


ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะการแก้ปัญหา จำนวนตรรกยะจำนวนเต็ม สมบัติของจำนวนเต็ม ทศนิยมและเศษส่วน จำนวนตรรกยะและสมบัติของจำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม บวก การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ และเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้การสร้างพื้นฐานทาง เรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริงเลขยกกำลัง ความหมายของ เลขยกกำลัง การคูณการหารเลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ทศนิยมและเศษส่วน ทศนิยมและการ เปรียบเทียบทศนิยม การบวกการลบทศนิยม การคูณและการหารทศนิยม เศษส่วนและการเปรียบเทียบ เศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วน การคูณและการหารเศษส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมกับเศษส่วน รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์

โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็น ไทย มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์


ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะการแก้ปัญหา ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ การนำความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใช้ในชีวิตจริง จำนวนจริงจำนวนอตรรกยะ จำนวน จริง รากที่สองและรากที่สามของจำนวนตรรกยะ การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนจริงไปใช้ ปริมาตรและพื้นที่ผิว การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ใน การแก้ปัญหา การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึมและ ทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน การนำ ความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา สมบัติของเลขยกกำลัง การดำเนินการของเลข ยกกำลัง สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกำลัง พหุนาม พหุนาม การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม การ หารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหารเป็นพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบ ของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง เป็นต้น

โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็น ไทย มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์


ศึกษา  ฝึกทักษะและกระบวนการในสาระต่อไปนี้

          อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและกราฟแสดง คำตอบ การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำความรู้เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงว่าสาม สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติ จริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ เชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ความคล้าย  ระบุเงื่อนไขที่ทำให้รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน และบอกสมบัติของรูปหลายเหลี่ยม
ที่คล้ายกัน ระบุเงื่อนไขที่ทำให้รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน และบอกสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ระบุลักษณะพร้อมทั้งเขียนกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่อยู่ในรูป
y = ax2, y = ax2 + k , y = a(x – h)2, y = a(x – h)2 + k และ y = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c, h และ k เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 นำความรู้เกี่ยวกับกราฟของฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา

โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตัวเอง มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน Active learning เป็นทักษะความคิดขั้นสูง

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เสริมสร้างความถนัดและความสนใจอันนำไปสู่การประกอบอาชีพในอนาคต และมีความสามารถในการตัดสินใจ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21  ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 



ศึกษา  ฝึกทักษะและกระบวนการในสาระต่อไปนี้

  เซต   ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐานเกี่ยวกับเซตยูเนียนอินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต  

โดยใช้กระบวนการสอนที่พัฒนาศักยภาพและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้แก่การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน Active Learning เน้นทักษะขั้นสูง

          เพื่อให้องค์ความรู้ ความเข้าใจ เสริมสร้างความถนัดและความสนใจอันนำไปสู่ การประกอบอาชีพในอนาคต และมีความสามารถในการตัดสินใจ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสารสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวติของตนเอง มี จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาสม

การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริง ให้ครอบคลุมทั้งด้านความรู้และทักษะ/กระบวนการ โดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลักการนับเบื้องต้น  หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด

ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
          โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์


ศึกษาเกี่ยวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจำแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้ความรู้   ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์   ศึกษาประเภทโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และ      การออสโมซิส ศึกษาการดำรงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำเลียงสารในพืช             การเจริญเติบโตของพืช การสืบพันธุ์ของพืช และเทคโนโลยีชีวภาพของพืช ศึกษาเกี่ยวกับอุณหภูมิและการวัด  ผลของความร้อนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร สมดุลความร้อน  การถ่ายโอนความร้อน องค์ประกอบของบรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ องค์ประกอบของบรรยากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆและฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณ์อากาศ และการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก

        โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต            การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ            มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน                    มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจริยธรรม


คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จำเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันในด้านการเกษตรและอาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย


ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง และอธิบาย เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคหรือวัตถุในสนามโน้มถ่วง  สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์  แรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส  ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด  เวลา  ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์  ความสัมพันธ์ระหว่างคาบและรัศมีของการเคลื่อนที่เป็นวงกลม  และเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย  ประโยชน์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์   แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย    สมบัติของคลื่นกล  ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น  การเกิดคลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มของเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง การนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์  มลภาวะของเสียง สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การใช้ประโยชน์และการป้องกันอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน ฟิวชันและความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน   ผลของปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม  โรงไฟฟ้านิวเคลียร์และการใช้ประโยชน์   ปฏิกิริยาลูกโซ่    การเกิดและการสลายกัมมันตภาพรังสี    ชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี       ประโยชน์และอันตรายจากสารกัมมันตรังสีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

วิชาเรียนออนไลน์ ปีการศึกษา 2567
การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1

      ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา  ขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสจำลองผังงาน การเขียนออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย ที่มีการใช้งานตัวแปร เงื่อนไข และการวนซ้ำ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลหลข้อมูล การสร้างทางเลือก และประเมินผลเพื่อตัดสินใจ ซอฟต์แวร์ และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ข้อตกลงและข้อกำหนดการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้

วิชาจะเปิดให้เริ่มเข้าเรียนได้ วันที่ 25 มีนาคม 2567

          คำอธิบายรายวิชา

            ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน  ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน  ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน  การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน และวิธีครึ่งปฏิกิริยา ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้า ที่ขั้วแคโทด ขั้วแอโนด  แผนภาพเซลล์ ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์  หลักการทำงานการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า  การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บริสุทธิ์  การป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน อธิบายสารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ  เขียนสูตรโครงสร้างอินทรีย์แบบต่างๆ 
ระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน สูตรและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆตามระบบ
IUPAC  เปรียบเทียบจุดเดือด และการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างต่างกัน


ศึกษาความสําคัญของการศึกษาชีววิทยาและกระบวนการในการศึกษาชีววิทยา ความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ทําให้สิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตอยู่ได้ สมบัติของน้ำและบอกความสําคัญของน้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและยกตัวอย่างธาตุชนิดต่างๆ ที่มีความสําคัญต่อร่างกายสิ่งมีชีวิต  ศึกษาสารชีวโมเลกุลอธิบายโครงสร้างและความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมี เซลล์และการทำงานของเซลล์ โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การลําเลียงสาร การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส การหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน

วันเปิดเรียน 16 พฤษภาคม 2567

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองประเภทโคลงได้อย่างถูกต้องจับใจความสำคัญ  ตีความ  แปลความและขยายความ วิเคราะห์วิจารณ์ และตอบคำถามเขียนกรอบแนวคิดผังความคิด
เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงานจากเรื่องที่อ่าน ย่อความ เรียงความ  
เขียนสื่อสาร  เขียนบรรยาย  อธิบาย  พรรณนาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์มีข้อมูลและสาระสำคัญ รวมถึงมีมารยาทในการเขียนสรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา
และความน่าเชื่อถือ ประเมินเรื่อง  มีวิจารณญาณนำไประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต อย่างมีเหตุผล 
จากเรื่องที่ฟัง ดู และพูด อธิบาย  ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์อย่างเหมาะสม  แต่งบทร้อยกรองประพันธ์ประเภทโคลงเห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน 
ท่องจำบทอาขยานมีมารยาทในการอ่าน  การฟัง  การดู การพูดและการเขียน
        โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ร้อยกรอง พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์วิจารณ์  ประเมินค่า 
สรุปลักษณะเด่นและประเด็นสำคัญของวรรณคดีและวรรณกรรมฝึกฝนทักษะการฟัง  การพูด 
การเล่าเรื่อง และการแสดงความคิดเห็นตามเจตนารมณ์ที่ต้องการสื่อสาร สามารถนำความรู้ที่ได้รับ
ไปสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพเห็นคุณค่าวิถีชีวิตของคนไทยในอดีต  มีความภาคภูมิใจในวรรณคดีและวรรณกรรมอันเป็นมรดกของชาติ 

สามารถนำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจและการดำเนินชีวิตประจำวัน  มีจิตสาธารณะ 
ตระหนักถึงคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม  และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์  รักชาติศาสน์ กษัตริย์  ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย  ใฝ่เรียนรู้  อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมั่นในการทำงานรักความเป็นไทย  มีจิตสาธารณะ
ใช้ความรู้ภาษาไทยเพื่อการจรรโลงจิตใจ  ธำรงและพัฒนาสังคมได้เต็มศักยภาพของผู้เรียน
และการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลเน้นความพอเพียงในระดับชุมชนเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑   ม.๔-๖/๑
,  ม.๔-๖/๒,  ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ , ม.๔-๖/๗ , ม.๔-๖/๘
ท ๒.๑   ม.๔-๖/๑
,  ม.๔-๖/๒,  ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๖ , ม.๔-๖/๗
ท ๓.๑   ม.๔-๖/๑
,   ม.๔-๖/๒,  ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ , ม.๔-๖/๕
ท ๔.๑   ม.๔-๖/๑
,ม.๔-๖/๒,ม.๔-๖/๓ ,ม.๔-๖/๔ ,ม.๔-๖/๕ ,ม.๔-๖/๖
ท ๕.๑   ม.๔-๖/๑
,  ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕ , ม.๔-๖/๖
รวมทั้งหมด  ๒๘  ตัวชี้วัด


รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. 
2.

เนื้อหาบทเรียน
ชั่วโมงที่ 1 
ชั่วโมงที่ 2 
ชั่วโมงที่ 3 
ชั่วโมงที่ 4 
ชั่วโมงที่ 5

  • ศึกษาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน เกี่ยวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในยุคดิจิทัล แลกเปลี่ยนข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง ข่าว เหตุการณ์ โฆษณา นิทาน เพลง และเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิติประจำวัน ที่อยู่ในความสนใจของสังคม เลือกใช้คำศัพท์ สำนวน วลี ประโยค โครงสร้างไวยกรณ์ทางภาษา รู้และเข้า ใจความแตกต่างระหว่างโครงสร้างของประโยค ระดับของภาษา และการเลือกใช้ภาษาท่าทางในการสื่อสาร สนทนาตามมารยาททางสังคมของและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาได้

วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567

        วิเคราะห์กฎหมายคุ้มครองเด็ก  กฎหมายการศึกษา  กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค  กฎหมายลิขสิทธ์  ประโยชน์ของการปฏิบัติตาม  กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล  ระบุบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ  โดยเน้นจิตสาธารณะ  อภิปรายความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี  หรืออาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน  อธิบายความหมายของคำว่าทรัพยากรมีจำกัดกับความต้องการมีไม่จำกัด   ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส     

         วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะที่เป็น ศาสนาประจำชาติ สถาบันหลักของสังคมไทย สภาพแวดล้อมที่กว้างขวางครอบคลุมสังคมไทย วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ เทวทูต 4 การแสวงหาความรู้ การบำเพ็ญทุกขกิริยา วิเคราะห์ประวัติพระมหากัสสปะ พระอุบาลีอนาถบิณทิกะ นางวิสาขา วิเคราะห์อัมมพชนาก กิตติชาดก พระเจ้าอโศกมหาราช พระโสณะและพระอุตตระ วิเคราะห์เหตุผลความจำเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่น ด้านศาสนาสัมพันธ์ และนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตน

          โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล  สืบค้นข้อมูล  บันทึก  อภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้  ความคิด  ความเข้าใจ  สามารถนำเสนอ  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารและเจริญปัญญาด้วยอาณาปานสติ 


คำอธิบายรายวิชา

วิชาพลศึกษา(ฟุตซอล)   รหัสวิชา พ 32201                 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5      ภาคเรียนที่ 1                           เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

 

 

ศึกษาหลักการเพิ่มพูนความสามารถในการเคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานที่นำไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาฟุตซอล ศึกษาหลักการปฏิบัติทักษะพื้นฐานในการเล่น รูปแบบ วิธีการรุกและป้องกัน การแข่งขัน และการทำงานเป็นทีม รู้ถึงความสำคัญของการออกกำลังกายและเล่นกีฬาฟุตซอล จนเป็นวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี

โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ เริ่มจากการสังเกต รับรู้ ปฏิบัติตามแบบอย่าง ปฏิบัติโดยไม่มีแบบอย่าง และฝึกซ้ำ ๆ จนเกิดความชำนาญ รวมทั้งกระบวนการทดสอบการปฏิบัติ

เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานของการเล่นฟุตซอล เคารพกฎ กติกา และ        ข้อตกลงของกีฬาฟุตซอล ยอมรับความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นกีฬา รักษาสุขภาพตนเอง นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาพลศึกษา


คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา พ 22103 พลศึก                                       กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2 ภาคเรียนที่  2                         เวลา   20  ชั่วโมง  ( 0.5  หน่วยกิต )

ศึกษาหลักการเกี่ยวกับกิจกรรมพลศึกษาและกีฬาประเภทกรีฑา
ฝึกทักษะการบริหารร่างกาย การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน และการเล่นกีฬาตามลำดับขั้นตอน
โดยใช้กระบวนการทางพลศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมพลศึกษา
และกีฬาประเภทกรีฑา มีทักษะในการเล่นกีฬา มีคุณธรรมเห็นคุณค่าของกิจกรรมพลศึกษาและกีฬาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

          โดยใช้ทักษะกระบวนการฝึกปฏิบัติกระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสังเกต การอภิปรายกระบวนการคิดวิเคราะห์ และทักษะการมีส่วนร่วม

          เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์มีวินัยใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต รักความเป็นไทย อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ

ผลการเรียนรู้

1. อธิบายถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรีฑาได้

2. บอกถึงการเตรียมร่างกายก่อนการเล่นกรีฑาได้

3. สามารถเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายของตนได้

4. อธิบายถึงวิธีการดูแลรักษาอุปกรณ์การเล่นกรีฑาได้

5. อธิบายและปฏิบัติทักษะการวิ่งระยะ กลาง ไกล

6. อธิบายถึงทักษะและปฏิบัติทักษะการออกตัววิ่ง

7. อธิบายถึงทักษะและปฏิบัติทักษะการรับ-การส่ง

8. อธิบายและปฏิบัติทักษะการแข่งขัน

รวมทั้งหมด  8   ผลการเรียนรู้

 

 

 



คำอธิบายรายวิชา

 

        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1                                                                                                                     ภาคเรียนที่1

        รหัสวิชา  ศ21102                                                                                                                         เวลา 40 ชั่วโมง/ปี

 

         ศึกษาและฝึกทักษะทางดนตรี-นาฏศิลป์ผ่านกระบวนการอธิบาย อ่าน เขียน โน้ตไทยและโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง-เบาแตกต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึก ในการฟังดนตรีแต่ละประเภท นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้นน่าชื่นชม ใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง ใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม ใช้นาฏยศัพท์ทางการละครในการแสดง แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่ายๆ ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง ใช้เกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดให้ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชม โดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่าและการเคลื่อนไหว ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน บรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย

         โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์

         เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

         ตัวชี้วัด

         2.1      ม.1/1   ม.1/2    ม.1/3   ม.1/4   ม.1/5   ม.1/6    ม.1/7    ม.1/8   ม.1/9

         2.2      ม.1/1   ม.1/2

         3.1      ม.1/1   ม.1/2    ม.1/3   ม.1/4   ม.1/5

         3.2      ม.1/1   ม.1/2

         รวม  18  ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 


คำอธิบายรายวิชา

 

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1                                                                                ภาคเรียนที่1

รหัสวิชา  ศ21102                                                                                  เวลา 40 ชั่วโมง/ปี

 

         ศึกษาและฝึกทักษะทางดนตรี-นาฏศิลป์ผ่านกระบวนการอธิบาย อ่าน เขียน โน้ตไทยและโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง-เบาแตกต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึก ในการฟังดนตรีแต่ละประเภท นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้นน่าชื่นชม ใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง ใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม ใช้นาฏยศัพท์ทางการละครในการแสดง แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่ายๆ ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง ใช้เกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดให้ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชม โดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่าและการเคลื่อนไหว ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน บรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย

         โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์

         เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

         ตัวชี้วัด

         2.1      ม.1/1   ม.1/2    ม.1/3   ม.1/4   ม.1/5   ม.1/6    ม.1/7    ม.1/8   ม.1/9

         2.2      ม.1/1   ม.1/2

         3.1      ม.1/1   ม.1/2    ม.1/3   ม.1/4   ม.1/5

         3.2      ม.1/1   ม.1/2

         รวม  18  ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 


ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม สังเกต สำรวจ บันทึก และแสวงหาความรู้ เพื่อใช้ในการพัฒนาการทำงาน การจัดและตกแต่งบ้าน การดูแลรักษาและตกแต่งสวน การจัดการผลผลิต ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน การเตรียม ประกอบ จัด ตกแต่ง และบริการเครื่องดื่ม การเลี้ยงสัตว์ การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุในโรงเรียน หรือท้องถิ่น การติดต่อสื่อสาร และใช้บริการกับหน่วยงานต่าง ๆ มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีการเสริมสร้างประสบการณ์อาชีพ การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ และมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ

          เพื่อให้เกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการทำงาน มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รวมถึงมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า



Courses